สมัครสมาชิก
เข้าสู่ระบบ
ตัวแทนแบรนด์ KUBET DS3177
KUBET การโฆษณาลอตเตอรี
KUBET การโฆษณาลอตเตอรี
KUBET การโฆษณาลอตเตอรี
KUBET การโฆษณาลอตเตอรี
KUBET การโฆษณาลอตเตอรี
KUBET การโฆษณาลอตเตอรี

‘กอบกาญจ์’ ปลุกกระแสคนไทย ให้กลับมากินข้าวมากขึ้น

news - 2023-12-14 09:49

‘กอบกาญจ์’ ปลุกกระแสคนไทย ให้กลับมากินข้าวมากขึ้น

จากสถิติ 5 ปีที่ผ่านมา การบริโภคข้าวของคนไทยลดลงถึง 25% โดยเฉพาะวัยเด็ก วัยรุ่น และวัยทำงานยิ่งเป็นคนที่อยู่ในกรุงเทพฯ เริ่มบริโภคข้าวน้อยที่สุด เมื่อปี 61 คนไทยเคยกินข้าวเฉลี่ยสูงถึง 100 กก.ต่อคนต่อปี ตอนนี้คนไทยกินข้าวเหลือเพียง 75 กก.ต่อคนต่อปี หรือลดลงกว่า 25% โดยเฉพาะในกลุ่มประชากรวัยเด็ก วัยรุ่นและวัยทำงาน ที่กินข้าวเฉลี่ยเพียง 72 กก.ต่อคนต่อปี เท่านั้น กรุงเทพฯ การบริโภคข้าวลดลงเหลือ 50 กก.ต่อคนต่อปีหลายองค์กร หลายหน่วยงานจึงพยายามผลักดัน ให้คนไทยกลับมาบริโภคข้าวไทยเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มคนรุ่นใหม่ ที่กำลังเติบโตในสังคมต่อไป เห็นถึงความสำคัญของข้าวไทย และมีความรู้ ความเข้าใจ รู้จักข้าวไทยมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นพลังกำลังใจให้กับชาวนาไทย ที่นับวันเริ่มลดลง หลังจากคนรุ่นใหม่ไม่ค่อยสนใจสานต่อ ทั้งที่ประเทศไทย นับเป็นประเทศที่ส่งออก “ข้าว” อันดับต้น ๆ ของโลก และในอดีตเคยอยู่ในอันดับ 1 มาแล้ว สามารถสร้างรายได้ให้ประเทศไม่น้อยกว่าแสนล้านบาททีเดียวครั้งนี้ Sustainable Daily มีโอกาสสัมภาษณ์พิเศษ “กอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร” ในฐานะกรรมการมูลนิธิข้าวไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และรองประธานกรรมการหอการค้าไทย ได้ฉายถึงมุมมองการสนับสนุนข้าวไทย ให้คนรุ่นใหม่เห็นถึงคุณค่าความสำคัญของไทยว่า ประเด็นข้าวไทย เป็นเรื่องที่เราเป็นห่วง เนื่องจากคนรุ่นใหม่เริ่มทานข้าวน้อยลง บางคนมีความเชื่อว่า ทานข้าวแล้วอ้วน ทานข้าวแล้วไม่โก้หรู เราจึงต้องหาวิธีส่งเสริมให้ความต้องการของข้าวไทย ยังมีอยู่ต่อไป ทำให้คนรุ่นใหม่กลับมาสนใจ กลับมามองว่าทานข้าวก็เก๋ ทานข้าวแล้วร่วมสมัยเพราะฉะนั้นเราต้องสร้างการรับรู้เกี่ยวกับข้าวไทยที่มีหลากหลายสายพันธุ์ มีคุณค่าทางอาหาร โปรตีน และวิตามินหลากหลาย มีทั้งสายพันธุ์ให้นํ้าตาลน้อย ไม่ทำให้อ้วน ให้รู้จักนำข้าวหลากหลายชนิดมาหุงผสมกัน เพื่อสร้างเอกลักษณ์ เช่น การหุงข้าวเจ้าผสมกับข้าวเหนียว หรือข้าวกล้อง เพื่อให้ได้รสชาติแตกต่าง รวมทั้งการแนะนำทานข้าวร่วมกับอาหารต่าง ๆ เหมาะกับกับข้าวอะไร เช่น แกงมัสมั่น แกงเขียวหวาน ที่หลัง ๆ เน้นทานกับโรตีมากขึ้นทั้งนี้ประเทศไทย มีข้าวนับหมื่นนับพันสายพันธุ์ สิ่งที่เราต้องการเน้นโปรโมต จะทำสายพันธุ์พิเศษในไทยก่อน ไม่ใช่ข้าวที่ขายกันทั่ว ๆ ไป เช่น ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้, ข้าวสินเหล็ก, ข้าวไรซ์เบอร์รี่, ข้าวมะลินิลสุรินทร์ , ข้าวทับทิมชุมแพ และข้าวสังข์หยด เพื่อยกระดับรายได้ของเกษตรกร จูงใจให้คนรุ่นใหม่ หันมาเป็นเกษตรกร แบบสมาร์ท ฟาร์มเมอร์ เน้นให้ผู้ปลูกได้ติดต่อตรงกับผู้ใช้เลย เช่น ร้านอาหารต่าง ๆ หรือผู้บริโภค ตัดพ่อค้าคนกลางออกไป เพื่อให้เกษตรกรได้ราคาสูงขึ้นกว่าขายผ่านพ่อค้าคนกลาง แต่ก็ไม่ใช่ว่าร้านค้าจะต้องซื้อแพง คือ ซื้อราคาเดิม แต่ไม่ต้องผ่านคนกลางตัวอย่างที่เห็นได้ชัด ร้านอาหารชื่อดังในหลาย ๆ จังหวัด บางร้านได้รับมิชลิน เริ่มพรีเซ็นต์อาหารใช้วัตถุดิบของพื้นถิ่น ใช้ข้าวสายพันธุ์อะไรจะมีพรีเซ็นต์ให้ผู้บริโภครู้จัก สร้างการรับรู้ของผู้บริโภคมากขึ้น ซึ่งเรื่องนี้ทางมูลนิธิฯ และหอการค้าไทย จะร่วมกันส่งเสริมร้านอาหารแต่ละพื้นที่ให้สร้างการรับรู้ข้าวไทยมากขึ้น“ข้าวเป็นจิตวิญญาณของคนไทย สุดท้ายอาหารยังไงก็สำคัญที่สุด ควรที่ต้องรักษาแหล่งอาหารของบ้านเราเอาไว้ ต้องช่วยกันหาวิธีทำยังไง ต้องรักษาให้คงอยู่ และรักษาคุณภาพไว้ด้วย ทำให้เกิดในสิ่งที่ยั่งยืนได้ คือ ต้องทำให้เขาเป็นชาวนาแล้วยืนอยู่บนขาของตัวเองได้ ไม่ควรมารอแต่การจำนำ หรือการประกันราคาของรัฐบาล ทุกบทบาทต้องช่วยกัน ทั้งในเรื่องคุณภาพ การตลาด การเล่าเรื่องสตอรี่ เทลริง การใช้เทคโนโลยีต่าง ๆ ทำแล้วต้องได้คุณภาพ ชาวนารุ่นใหม่ ต้องเป็นสมาร์ท ฟาร์มเมอร์”ล่าสุดมีงานข้าวที่น่าสนใจ เชื่อว่าจะตอบโจทย์คนรุ่นใหม่สนใจข้าวไทยขึ้น ในงานไทยแลนด์ ไรซ์ เฟส 2023 จัดตั้งแต่วันที่ 14-17 ธ.ค. 66 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เป็นงานที่เปิดประสบการณ์แบบใหม่หลากหลายมิติ เช่น ให้คนรู้จักเอกลักษณ์ข้าวไทยหลายสายพันธุ์ ทั้งรสชาติ กลิ่นหอม เนื้อสัมผัส และประโยชน์ทางโภชนาการ มีโซนต่าง ๆ เช่น โซนกินข้าว มีเชฟและร้านอาหารมาสร้างสรรค์เมนูพิเศษจากข้าวให้ได้ชิมกัน การจับคู่ข้าวท้องถิ่นกับอาหารท้องถิ่น ข้าวโภชนาการสูงตามคอนเซปต์ทำอาหารให้เป็นยา การเปลี่ยนเมนูข้าวที่คุ้นเคยให้เป็นข้าวพันธุ์, โซนชิมข้าว ให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวจากกลุ่มต่าง ๆ มาเล่าเรื่องสนุก ๆ เกี่ยวกับข้าวให้ฟัง โซนทำกับข้าว สอนเวิร์กช็อปทำอาหารแบบง่าย ๆ ทำอาหารจากอาหารที่เหลือในตู้เย็น “การส่งเสริมข้าวไทย นอกจากการช่วยเหลือตัวเองแล้ว อยากให้รัฐบาลให้ความสนใจการทำภาคเกษตรอย่างเข้มข้น เช่น ข้าว จะทำอย่างไรให้ข้าวมีคุณภาพ ไม่ได้เน้นแค่ราคาข้าวขายส่งอย่างเดียว อยากให้เน้นสายพันธุ์เฉพาะด้วย ไม่เช่นนั้นทุกคนจะเน้นแค่จำนวน ปริมาณ แต่ไม่เน้นคุณภาพ ซึ่งตอนนี้ความประณีตในการทำนาเริ่มหายไป คนรุ่นใหม่ไม่ค่อยอยากทำนาแล้ว เพราะว่าราคาแทบไม่เหลืออะไร รอแต่รัฐบาลอย่างเดียว สิ่งที่อยากให้เกิดขึ้น เกิดวงจรชาวนา เป็นสมาร์ท ฟาร์มเมอร์เข้มแข็งในตัวเขาเอง ทำเป็นเน็ตเวิร์กครบวงจร เหมือนที่ทำกับกาแฟพิเศษ และอยากให้ทุกคนเห็นของดีที่อยู่ในบ้านเรา เหมือนการท่องเที่ยว เราผ่านแต่เราไม่เห็น เรามีวัตถุดิบที่ดีในประเทศเป็นจำนวนมาก ถ้าภาคเกษตรไปได้ เติบโตไปได้เรื่อย ๆ แม้ไม่ต้องหวือหวา เศรษฐกิจไทยดีอย่างยั่งยืนแน่นอน”..

จากสถิติ 5 ปีที่ผ่านมา การบริโภคข้าวของคนไทยลดลงถึง 25% โดยเฉพาะวัยเด็ก วัยรุ่น และวัยทำงานยิ่งเป็นคนที่อยู่ในกรุงเทพฯ เริ่มบริโภคข้าวน้อยที่สุด เมื่อปี 61 คนไทยเคยกินข้าวเฉลี่ยสูงถึง 100 กก.ต่อคนต่อปี ตอนนี้คนไทยกินข้าวเหลือเพียง 75 กก.ต่อคนต่อปี หรือลดลงกว่า 25% โดยเฉพาะในกลุ่มประชากรวัยเด็ก วัยรุ่นและวัยทำงาน ที่กินข้าวเฉลี่ยเพียง 72 กก.ต่อคนต่อปี เท่านั้น กรุงเทพฯ การบริโภคข้าวลดลงเหลือ 50 กก.ต่อคนต่อปีหลายองค์กร หลายหน่วยงานจึงพยายามผลักดัน ให้คนไทยกลับมาบริโภคข้าวไทยเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะกลุ่มคนรุ่นใหม่ ที่กำลังเติบโตในสังคมต่อไป เห็นถึงความสำคัญของข้าวไทย และมีความรู้ ความเข้าใจ รู้จักข้าวไทยมากยิ่งขึ้น เพื่อเป็นพลังกำลังใจให้กับชาวนาไทย ที่นับวันเริ่มลดลง หลังจากคนรุ่นใหม่ไม่ค่อยสนใจสานต่อ ทั้งที่ประเทศไทย นับเป็นประเทศที่ส่งออก “ข้าว” อันดับต้น ๆ ของโลก และในอดีตเคยอยู่ในอันดับ 1 มาแล้ว สามารถสร้างรายได้ให้ประเทศไม่น้อยกว่าแสนล้านบาททีเดียวครั้งนี้ Sustainable Daily มีโอกาสสัมภาษณ์พิเศษ “กอบกาญจน์ วัฒนวรางกูร” ในฐานะกรรมการมูลนิธิข้าวไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ และรองประธานกรรมการหอการค้าไทย ได้ฉายถึงมุมมองการสนับสนุนข้าวไทย ให้คนรุ่นใหม่เห็นถึงคุณค่าความสำคัญของไทยว่า ประเด็นข้าวไทย เป็นเรื่องที่เราเป็นห่วง เนื่องจากคนรุ่นใหม่เริ่มทานข้าวน้อยลง บางคนมีความเชื่อว่า ทานข้าวแล้วอ้วน ทานข้าวแล้วไม่โก้หรู เราจึงต้องหาวิธีส่งเสริมให้ความต้องการของข้าวไทย ยังมีอยู่ต่อไป ทำให้คนรุ่นใหม่กลับมาสนใจ กลับมามองว่าทานข้าวก็เก๋ ทานข้าวแล้วร่วมสมัยเพราะฉะนั้นเราต้องสร้างการรับรู้เกี่ยวกับข้าวไทยที่มีหลากหลายสายพันธุ์ มีคุณค่าทางอาหาร โปรตีน และวิตามินหลากหลาย มีทั้งสายพันธุ์ให้นํ้าตาลน้อย ไม่ทำให้อ้วน ให้รู้จักนำข้าวหลากหลายชนิดมาหุงผสมกัน เพื่อสร้างเอกลักษณ์ เช่น การหุงข้าวเจ้าผสมกับข้าวเหนียว หรือข้าวกล้อง เพื่อให้ได้รสชาติแตกต่าง รวมทั้งการแนะนำทานข้าวร่วมกับอาหารต่าง ๆ เหมาะกับกับข้าวอะไร เช่น แกงมัสมั่น แกงเขียวหวาน ที่หลัง ๆ เน้นทานกับโรตีมากขึ้นทั้งนี้ประเทศไทย มีข้าวนับหมื่นนับพันสายพันธุ์ สิ่งที่เราต้องการเน้นโปรโมต จะทำสายพันธุ์พิเศษในไทยก่อน ไม่ใช่ข้าวที่ขายกันทั่ว ๆ ไป เช่น ข้าวหอมมะลิทุ่งกุลาร้องไห้, ข้าวสินเหล็ก, ข้าวไรซ์เบอร์รี่, ข้าวมะลินิลสุรินทร์ , ข้าวทับทิมชุมแพ และข้าวสังข์หยด เพื่อยกระดับรายได้ของเกษตรกร จูงใจให้คนรุ่นใหม่ หันมาเป็นเกษตรกร แบบสมาร์ท ฟาร์มเมอร์ เน้นให้ผู้ปลูกได้ติดต่อตรงกับผู้ใช้เลย เช่น ร้านอาหารต่าง ๆ หรือผู้บริโภค ตัดพ่อค้าคนกลางออกไป เพื่อให้เกษตรกรได้ราคาสูงขึ้นกว่าขายผ่านพ่อค้าคนกลาง แต่ก็ไม่ใช่ว่าร้านค้าจะต้องซื้อแพง คือ ซื้อราคาเดิม แต่ไม่ต้องผ่านคนกลางตัวอย่างที่เห็นได้ชัด ร้านอาหารชื่อดังในหลาย ๆ จังหวัด บางร้านได้รับมิชลิน เริ่มพรีเซนต์อาหารใช้วัตถุดิบของพื้นถิ่น ใช้ข้าวสายพันธุ์อะไรจะมีพรีเซนต์ให้ผู้บริโภครู้จัก สร้างการรับรู้ของผู้บริโภคมากขึ้น ซึ่งเรื่องนี้ทางมูลนิธิฯ และหอการค้าไทย จะร่วมกันส่งเสริมร้านอาหารแต่ละพื้นที่ให้สร้างการรับรู้ข้าวไทยมากขึ้น ในงานไทยแลนด์ ไรซ์ เฟส 2023 จัดตั้งแต่วันที่ 14-17 ธ.ค. 66 ที่ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ เป็นงานที่เปิดประสบการณ์แบบใหม่หลากหลายมิติ เช่น ให้คนรู้จักเอกลักษณ์ข้าวไทยหลายสายพันธุ์ ทั้งรสชาติ กลิ่นหอม เนื้อสัมผัส และประโยชน์ทางโภชนาการ มีโซนต่าง ๆ เช่น โซนกินข้าว มีเชฟและร้านอาหารมาสร้างสรรค์เมนูพิเศษจากข้าวให้ได้ชิมกัน การจับคู่ข้าวท้องถิ่นกับอาหารท้องถิ่น ข้าวโภชนาการสูงตามคอนเซปต์ทำอาหารให้เป็นยา การเปลี่ยนเมนูข้าวที่คุ้นเคยให้เป็นข้าวพันธุ์, โซนชิมข้าว ให้เกษตรกรผู้ปลูกข้าวจากกลุ่มต่าง ๆ มาเล่าเรื่องสนุก ๆ เกี่ยวกับข้าวให้ฟัง โซนทำกับข้าว สอนเวิร์กช็อปทำอาหารแบบง่าย ๆ ทำอาหารจากอาหารที่เหลือในตู้เย็น“การส่งเสริมข้าวไทย นอกจากการช่วยเหลือตัวเองแล้ว อยากให้รัฐบาลให้ความสนใจการทำภาคเกษตรอย่างเข้มข้น เช่น ข้าว จะทำอย่างไรให้ข้าวมีคุณภาพ ไม่ได้เน้นแค่ราคาข้าวขายส่งอย่างเดียว อยากให้เน้นสายพันธุ์เฉพาะด้วย ไม่เช่นนั้นทุกคนจะเน้นแค่จำนวน ปริมาณ แต่ไม่เน้นคุณภาพ ซึ่งตอนนี้ความประณีตในการทำนาเริ่มหายไป คนรุ่นใหม่ไม่ค่อยอยากทำนาแล้ว เพราะว่าราคาแทบไม่เหลืออะไร รอแต่รัฐบาลอย่างเดียว สิ่งที่อยากให้เกิดขึ้น เกิดวงจรชาวนา เป็นสมาร์ท ฟาร์มเมอร์เข้มแข็งในตัวเขาเอง ทำเป็นเน็ตเวิร์กครบวงจร เหมือนที่ทำกับกาแฟพิเศษ และอยากให้ทุกคนเห็นของดีที่อยู่ในบ้านเรา เหมือนการท่องเที่ยว เราผ่านแต่เราไม่เห็น เรามีวัตถุดิบที่ดีในประเทศเป็นจำนวนมาก ถ้าภาคเกษตรไปได้ เติบโตไปได้เรื่อย ๆ แม้ไม่ต้องหวือหวา เศรษฐกิจไทยดีอย่างยั่งยืนแน่นอน”..

#กอบกาญจ์ #ข้าวไทย #เกษตรกร #รายได้ #สนับสนุนข้าวไทย